เคมี - อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณสารตั้งต้น (reactant) ที่ลดลงหรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ (product) ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งสามารถเขียนสูตรความสัมพันธ์ได้ดังนี้

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =

หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =

การคำนวณเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ถ้าปฏิกิริยาทั่วไป คือ A + 2B → 4C
ปฏิกิริยานี้สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้หลายวิธี ดังนี้

(1) อัตราการลดลงของสาร A =

=

(2) อัตราการลดลงของสาร B =

=

(3) อัตราการเกิดสาร C =

=

เมื่อ

∆  แทนการเปลี่ยนแปลง
[ ]  แทนความเข้มข้น (mol/dm3)
∆t  แทนระยะเวลาที่เกิดปฎิริยาหรือระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลง
–  แทนอัตราการลดลงของสารตั้งต้น
+  แทนอัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์

การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา

ถ้าปฏิกิริยาทั่วไป คือ A + 2B → 4C
ปฏิกิริยานี้สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ ดังนี้

อัตราการเกิดปฏิกิริยา =

=

อัตราการเกิดปฏิกิริยา =

=

อัตราการเกิดปฏิกิริยา =

=