แนะแนวการทำข้อสอบวิชาสามัญ เคมี (TCAS) สถิติข้อสอบวิชาสามัญ เคมี ● อะตอมและสมบัติของธาตุ สัดส่วน 15.90 ● กรด เบส สัดส่วน 12.88 ● ไฟฟ้าเคมี สัดส่วน 12.88 ● เคมีอินทรีย์ สัดส่วน 9.85 ● อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สัดส่วน 9.85 ● สมดุลเคมี สัดส่วน 9.10 ● การคำนวณเกี่ยวกับสมการเคมี สัดส่วน 9.10 ● พันธะเคมี สัดส่วน 6.81 ● แก๊ส สัดส่วน 6.06 ● พอลิเมอร์ สัดส่วน 3.03 เทคนิคการทำข้อสอบวิชาสามัญ เคมี 1. แบ่งระดับความยากของข้อสอบ โจทย์ง่ายประเภท 1 ● โจทย์ที่หาข้อถูกข้อผิดหลายตัวเลือก (ก-จ) แบบไม่มีคำนวณ เช่น– อะตอมและตารางธาตุ– อัตราการเกิดปฏิกิริยา– สมดุลเคมี– กรด-เบส– เคมีอินทรีย์– พอลิเมอร์ โจทย์ง่ายประเภท 2 ● โจทย์ที่อ่านแล้ว สามารถตอบได้เลยแบบไม่มีคำนวณ เช่น– ธาตุและสารประกอบ – พันธะเคมี – กรด-เบส – ไฟฟ้าเคมี – พอลิเมอร์ โจทย์ง่ายประเภท 3 ● โจทย์ที่มีการคำนวณเพียงขั้นเดียว แล้วได้คำตอบเลย เช่น– สารละลาย– สมดุลเคมี – กรด-เบส – เคมีไฟฟ้า 2. โจทย์ง่ายและออกบ่อย ● อะตอมและตารางธาตุ – การจัดเรียงอิเล็กตรอน– การจัดเรียงออร์บิทัลหาจำนวนอิเล็กตรอนเดี่ยว– สัญลักษณ์นิวเคลียร์– ไอโซโทป– IE– สเปกตรัม– สมการนิวเคลียร์– ครึ่งชีวิต ● พันธะเคมี – จุดเดือด– มุมพันธะ– รูปร่างโมเลกุล– ความมีขั้ว– แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ● ปริมาณสารสัมพันธ์ – สูตรอย่างง่าย– ความเข้มข้นสารละลาย– การเจือจางสารละลาย– สมบัติคอลิเกทีฟ– สมการไอออนิกสุทธิ ● แก๊ส – กฎรวมแก๊ส– กฎของแก๊สสัมบูรณ์ ● อัตราการเกิดปฏิกิริยา – กราฟการดำเนินไปของปฏิกิริยา– การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา– สมการกฎอัตรา– ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดปฏิกิริยา ● สมดุลเคมี – ค่าคงที่สมดุล– ค่าคงที่การละลาย ● กรด-เบส – ทฤษฎีกรด-เบส– ร้อยละการแตกตัว– ค่า pH– อินดิเคเตอร์– ไทเทรต– เกลือ– บัฟเฟอร์ ● เคมีไฟฟ้า – การดุลสมการรรีดอกซ์– การหาตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์– เซลล์กัลวานิก– แผนภาพเซลล์– คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้า– การผุกร่อนของโลหะ ● พอลิเมอร์ – พอลิเมอร์แบบเติม– พอลิเมอร์แบบควบแน่น– พอลิเมอร์ที่นำไฟฟ้า– โฮโมพอลิเมอร์ โคพอลิเมอร์ กลับไปหน้าบทความหลัก กลับไปคลังข้อสอบ บทความเคมี TAG:TCAS, เรียนออนไลน์, เรียนTCAS, เรียนพิเศษTCAS, ติวสอบแพทย์, ติวเข้าแพทย์, ติวสอบหมอ, ติวเข้าหมอ, ติวโอเน็ต, ติวสอบonet, ติว9วิชาสามัญ, คอร์สติวpat2, คอร์สpat2, เรียนพิเศษเคมี, เรียนพิเศษเคมีออนไลน์, เรียนเคมี, ติวเคมีออนไลน์ คลังข้อสอบเคมี SHARE: Facebook Twitter Instagram Youtube