เคมี - อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณสารตั้งต้น (reactant) ที่ลดลงหรือปริมาณสารผลิตภัณฑ์ (product) ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งสามารถเขียนสูตรความสัมพันธ์ได้ดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = การคำนวณเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ถ้าปฏิกิริยาทั่วไป คือ A + 2B → 4Cปฏิกิริยานี้สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้หลายวิธี ดังนี้ (1) อัตราการลดลงของสาร A = = (2) อัตราการลดลงของสาร B = = (3) อัตราการเกิดสาร C = = เมื่อ ∆ แทนการเปลี่ยนแปลง[ ] แทนความเข้มข้น (mol/dm3)∆t แทนระยะเวลาที่เกิดปฎิริยาหรือระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลง – แทนอัตราการลดลงของสารตั้งต้น+ แทนอัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์ การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ถ้าปฏิกิริยาทั่วไป คือ A + 2B → 4Cปฏิกิริยานี้สามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ ดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการลดลงของสาร A = อัตราการเกิดปฏิกิริยา = = อัตราการเกิดปฏิกิริยา = = TAG:TCAS, เรียนออนไลน์, เรียนTCAS, เรียนพิเศษTCAS, ติวสอบแพทย์, ติวเข้าแพทย์, ติวสอบหมอ, ติวเข้าหมอ, ติวโอเน็ต, ติวสอบonet, ติว9วิชาสามัญ, คอร์สติวpat2, คอร์สpat2, เรียนพิเศษเคมี, เรียนพิเศษเคมีออนไลน์, เรียนเคมี, ติวเคมีออนไลน์ กลับไปหน้าบทความหลัก กลับไปหน้าบทความเคมี