ฟิสิกส์ - โมเมนตัมและการดล

โมเมนตัม (P) เป็นปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งปริมาณนี้จะบอกถึงความพยายามที่วัตถุจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เป็นปริมาณเวกเตอร์ โดยขึ้นอยู่กับมวลแลความเร็ว

สูตรคือ

Ex. วัตถุมวล 5 kg เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ว 10 m/s จะมีโมเมนตัมเท่าไร

P  =  mv
    = (5)(10)
    = 50 kg.m/s ทิศไปทางขวา

การดล (I) คือ โมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไปของวัตถุ หากมีแรงที่ไม่คงที่ มากระทำกับวัตถุในช่วงเวลาสั้น ๆ และเนื่องจากแรงลัพธ์ที่มากระทำไม่คงที่ จึงต้องคำนวณจากแรงเฉลี่ยและความเร่งเฉลี่ย

เรียกแรงที่ทำให้โมเมนตัมเปลี่ยนไปว่า แรงดล

จากกราฟระหว่าง F - t

จะได้ I = พื้นที่ใต้กราฟ F – t

Ex. ขว้างวัตถุมวล 1 kg เข้าชนกำแพงด้วยความเร็ว 10 m/s หากวัตถุชนกำแพงเป็นเวลา 0.1 s แล้วเด้งกลับทางเดิมด้วยความเร็วเท่าเดิมแล้ว จงหาแรงดล

  นอกจากนี้ PANYA SOCIETY ยังได้รับเลือกจากกองบรรณาธิการ mybest ให้เป็น 1 ใน 10 สถาบัน “เรียนฟิสิกส์” ที่ไหนดี? ปี 2022 สามารถคลิกเพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่

สุปิติ บูรณวัฒนาโชค

ปัจจุบันทำงานในบริษัท Start-up ด้านเทคโนโลยีหลายแห่ง
อดีตเหรียญทองฟิสิกส์โอลิมปิก
ได้รับทุนธนาคารแห่งประเทศไทย ไปศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและโท คณะ Electrical and Computer Engineering (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) ที่ Carnegie Mellon University ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจบทั้งสองปริญญาในเวลา 4 ปี
เคยทำงานที่บริษัท Oracle สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นบริษัทซอฟต์แวร์ระดับ Top 5 ของโลก
ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์เด็กดีดอทคอม

ปัจจุบันทำงานในบริษัท Start-up ด้านเทคโนโลยีหลายแห่ง
อดีตเหรียญทองฟิสิกส์โอลิมปิก
ได้รับทุนธนาคารแห่งประเทศไทย ไปศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและโท คณะ Electrical and Computer Engineering (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์) ที่ Carnegie Mellon University ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจบทั้งสองปริญญาในเวลา 4 ปี
เคยทำงานที่บริษัท Oracle สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นบริษัทซอฟต์แวร์ระดับ Top 5 ของโลก
ผู้ร่วมก่อตั้งเว็บไซต์เด็กดีดอทคอม

SHARE: