📚คอร์สติวสอบ คณิตศาสตร์ A-Level

คอร์สติวสอบ คณิตศาสตร์ A-Level ฉบับสมบูรณ์ ที่มีเนื้อหาครบทุกบท แบบฝึกหัดและข้อสอบครบทุกแนว สอนละเอียดตั้งแต่ 0 จนถึง 100 นักเรียนที่มีพื้นฐานน้อยก็สามารถเรียนจนเก่งขึ้นได้ ในคอร์สมีสอดแทรกเทคนิคทำโจทย์ต่างๆ จากคุณครูที่เป็นกูรูตัวจริง ช่วยนักเรียนทำคะแนนสอบ A-Level ได้มากขึ้น

คณิตศาสตร์ A-Level

พี่นอต ธรรมนิติ์ พิพัฒน์ศรีสวัสดิ์

คอร์สเรียนออนไลน์ติวสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 สอนโดย พี่นอต อดีตนักเรียนทุนคิง ครอบคลุมเนื้อหาทุกประเด็นตาม Blueprint แนวโจทย์หลากหลาย พร้อมแนะเทคนิคเพิ่มคะแนน ให้น้องสามารถสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ได้อย่างมั่นใจ

ราคา 3,990 บาท

บทเรียนทั้งหมด
  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
  • การเป็นสมาชิกของเซต
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเป็นสมาชิกของเซต 1 – 5
  • สับเซต และเพาเวอร์เซต
  • แบบฝึกหัดเรื่องสับเซต และเพาเวอร์เซต 6 – 9
  • แบบฝึกหัดเรื่องสับเซต และเพาเวอร์เซต 10 – 12
  • เอกภพสัมพัทธ์ และแผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์
  • การดำเนินการระหว่างเซต
  • แบบฝึกหัดเรื่องการดำเนินการระหว่างเซต 13 – 16
  • แบบฝึกหัดเรื่องการดำเนินการระหว่างเซต 17 – 19
  • สมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของการดำเนินการระหว่างเซต 20 – 23
  • การแก้ปัญหาโดยใช้เซต
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้ปัญหาโดยใช้เซต 24 – 28
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้ปัญหาโดยใช้เซต 29 – 32
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 33 – 36
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 37 – 39
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 40 – 42
  • ประพจน์และการดำเนินการบนประพจน์
  • แบบฝึกหัดเรื่องประพจน์และการดำเนินการบนประพจน์ 1 – 2
  • การหาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ เมื่อรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย
  • แบบฝึกหัดเรื่อง การหาค่าความจริง เมื่อรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย 3 – 5
  • แบบฝึกหัดเรื่อง การหาค่าความจริง เมื่อรู้ค่าความจริงของประพจน์ย่อย 6 – 8
  • แบบฝึกหัดเรื่อง การหาค่าความจริง เมื่อรู้ค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ 9 – 12
  • การสร้างตารางค่าความจริง
  • แบบฝึกหัดเรื่องการสร้างตารางค่าความจริง 13 – 14
  • การสมมูลกันของประพจน์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการสมมูลกันของประพจน์ 15 – 19
  • สัจนิรันดร์
  • แบบฝึกหัดเรื่องสัจนิรันดร์ 20 – 24
  • การอ้างเหตุผล
  • แบบฝึกหัดเรื่องการอ้างเหตุผล 25 – 28
  • ประโยคเปิด และตัวบ่งปริมาณ
  • แบบฝึกหัดเรื่องประโยคเปิด และตัวบ่งปริมาณ 29 – 31
  • นิยาม และการสมมูลกันของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
  • แบบฝึกหัดเรื่องนิยาม และการสมมูลกันของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 32 – 36
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 37 – 40
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 41 – 43
  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนจริง
  • ระบบจำนวนจริง
  • พหุนามตัวแปรเดียว
  • แบบฝึกหัดเรื่องพหุนามตัวแปรเดียว 1 – 3
  • การเท่ากันของพหุนาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเท่ากันของพหุนาม 4 – 5
  • การหารพหุนาม และการหารยาว
  • การหารสังเคราะห์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหารพหุนาม 6 – 10
  • ทฤษฎีบทเศษเหลือ
  • การประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
  • แบบฝึกหัดเรื่องทฤษฎีบทเศษเหลือ 11 – 15
  • ทฤษฎีบทตัวประกอบ และทฤษฎีบทตัวประกอบตรรกยะ
  • การแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม 16 – 20
  • เศษส่วนของพหุนาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องเศษส่วนของพหุนาม 21 – 24
  • การแก้สมการพหุนาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้สมการพหุนาม 25 – 27
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้สมการพหุนาม 28 – 30
  • บทนำเรื่องความสัมพันธ์
  • ผลคูณคาร์ทีเชียน
  • สมบัติของผลคูณคาร์ทีเชียน
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของผลคูณคาร์ทีเชียน 1 – 4
  • ความสัมพันธ์จาก A ไป B และความสัมพันธ์แบบมีเงื่อนไข
  • ความสัมพันธ์ของจำนวนจริง และสมการแสดงความสัมพันธ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการแสดงความสัมพันธ์ 5 – 9
  • กราฟของความสัมพันธ์
  • กราฟของอสมการ
  • กราฟของอสมการหลายอสมการ
  • กราฟของอสมการที่มีค่าสัมบูรณ์
  • โดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์
  • การหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์
  • การหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่มีตัวส่วนเป็นตัวแปร
  • การหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่มีเครื่องหมายรูท
  • การหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่มีตัวแปรยกกำลังสอง
  • การหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่มีค่าสัมบูรณ์ของตัวแปรเดียว
  • การหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่มีตัวเศษและส่วนเป็นตัวแปร
  • อินเวอร์สของความสัมพันธ์
  • ข้อควรระวังเรื่องอินเวอร์สของความสัมพันธ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องอินเวอร์สของความสัมพันธ์ 10 – 11
  • กราฟของอินเวอร์ส
  • บทนำ และความหมายของฟังก์ชัน
  • การพิจารณาฟังก์ชันจากกราฟ
  • การนิยามฟังก์ชัน
  • การหานิยามของฟังก์ชันในรูปอย่างง่าย
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหานิยามของฟังก์ชันในรูปอย่างง่าย 12 – 13
  • เลขยกกำลัง
  • แบบฝึกหัดเรื่องเลขยกกำลัง 1 – 3
  • สมการรากที่สอง
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการรากที่สอง 4 – 5
  • ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
  • กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และการแปลงกราฟ
  • แบบฝึกหัดเรื่องกราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล 6 – 9
  • สมการเอกซ์โพเนนเชียล 1
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการเอกซ์โพเนนเชียล 10 – 12
  • สมการเอกซ์โพเนนเชียล 2
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการเอกซ์โพเนนเชียล 13 – 15
  • อสมการเอกซ์โพเนนเชียล 1
  • แบบฝึกหัดเรื่องอสมการเอกซ์โพเนนเชียล 16 – 18
  • อสมการเอกซ์โพเนนเชียล 2
  • แบบฝึกหัดเรื่องอสมการเอกซ์โพเนนเชียล 19 – 20
  • ฟังก์ชันลอการิทึม
  • กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม และการแปลงกราฟ
  • สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม 21 – 24
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม 25 – 29
  • สมการลอการิทึม 1
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการลอการิทึม 30 – 33
  • สมการลอการิทึม 2
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการลอการิทึม 34 – 35
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการลอการิทึม 36 – 37
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการลอการิทึม 38 – 39
  • อสมการลอการิทึม 1
  • แบบฝึกหัดเรื่องอสมการลอการิทึม 40 – 42
  • อสมการลอการิทึม 2
  • แบบฝึกหัดเรื่องอสมการลอการิทึม 43 – 45
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 46 (สามัญ 55) – 47 (สามัญ 56)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 48 (PAT1 ธ.ค. 54)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 49 (PAT1 ต.ค. 55) – 50 (PAT1 มี.ค. 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 51 (สามัญ 58) – 52 (สามัญ 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 53 (สามัญ 57) – 54 (สามัญ 56)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 55 (PAT1 ก.ค. 52)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 56 (PAT1 ต.ค. 52) – 57 (PAT1 มี.ค. 58)
  • ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
  • เคล็ดลับการหาด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
  • แบบฝึกหัดเรื่องระยะห่างระหว่างจุดสองจุด 1 – 2
  • จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด
  • แบบฝึกหัดเรื่องจุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด 3 – 4
  • ความชันของเส้นตรง
  • แบบฝึกหัดเรื่องความชันของเส้นตรง 5 – 8
  • สมการกราฟเส้นตรง
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการกราฟเส้นตรง 9 – 10
  • จุดตัดของเส้นตรงสองเส้น
  • แบบฝึกหัดเรื่องจุดตัดของเส้นตรงสองเส้น 11 – 12
  • เส้นขนาน
  • แบบฝึกหัดเรื่องเส้นขนาน 13 – 16
  • เส้นตั้งฉาก
  • แบบฝึกหัดเรื่องเส้นตั้งฉาก 17 – 20
  • ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง
  • แบบฝึกหัดเรื่องระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง 21 – 23
  • ระยะระหว่างเส้นขนาน
  • แบบฝึกหัดเรื่องระยะระหว่างเส้นขนาน 24 – 26
  • นิยามของวงกลม
  • แบบฝึกหัดเรื่องนิยามของวงกลม 27 – 30
  • การหาสมการวงกลม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาสมการวงกลม 31 – 33
  • คอร์ด และจุดตัดกราฟของสมการ
  • เทคนิคการแก้สมการหาจุดตัดของวงกลมสองวง
  • แบบฝึกหัดเรื่องจุดตัดกราฟของสองสมการ 34 – 36
  • เส้นสัมผัสวงกลม
  • ตัวอย่างเรื่องเส้นสัมผัสวงกลม
  • แบบฝึกหัดเรื่องเส้นสัมผัสวงกลม 37 – 38
  • บทนำเรื่องวงรี
  • ส่วนประกอบของวงรี
  • สมการวงรี
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการวงรี 39 – 41
  • การจัดรูปสมการวงรี
  • แบบฝึกหัดเรื่องการจัดรูปสมการวงรี 42 – 43
  • แบบฝึกหัดเรื่องวงกลมและวงรี 44 (สามัญ1 59), 45 (สามัญ1 62), 46 (สามัญ 58)
  • แบบฝึกหัดเรื่องวงกลมและวงรี 47 (สามัญ 56), 48 (PAT1 มี.ค. 58), 49 (PAT1 ก.ค. 52)
  • แบบฝึกหัดเรื่องวงกลมและวงรี 50 (PAT1 มี.ค. 55), 51 (PAT1 มี.ค. 56), 52 (PAT1 ต.ค. 55)
  • บทนำและนิยามของพาราโบลา
  • ส่วนประกอบของพาราโบลา
  • สมการพาราโบลา
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการพาราโบลา 53 – 54
  • การจัดรูปสมการพาราโบลา
  • แบบฝึกหัดเรื่องการจัดรูปสมการพาราโบลา 55 – 57
  • บทนำ และนิยามของไฮเพอร์โบลา
  • ส่วนประกอบของไฮเพอร์โบลา
  • สมการไฮเพอร์โบลา
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการไฮเพอร์โบลา 58 – 61
  • สมการเส้นกำกับ
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการเส้นกำกับ 62 – 64
  • การจัดรูปสมการไฮเพอร์โบลา
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการเส้นกำกับ 65 – 67
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 68 (PAT1 ต.ค. 53)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 69 (PAT1 เม.ย. 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 70 (สามัญ 55), 71 (สามัญ1 59)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 72 (PAT1 มี.ค. 58), 73 (PAT1 ต.ค. 58)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 74 (PAT1 เม.ย. 57), 75 (PAT1 มี.ค. 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 76 (PAT1 มี.ค. 53), 77 (สามัญ 58)
 
  • บทนำเรื่องตรีโกณมิติ
  • มุมเรเดียน
  • ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
  • แบบฝึกหัดเรื่องฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ 1 – 4
  • ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของรูปสามเหลี่ยมุมฉาก
  • แบบฝึกหัดเรื่องฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของรูปสามเหลี่ยมุมฉาก 5 – 8
  • ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
  • แบบฝึกหัดเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ 9 – 14
  • กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
  • แบบฝึกหัดเรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 15 – 19
  • เอกลักษณ์ตรีโกณมิติและสมบัติอื่น ๆ
  • แบบฝึกหัดเรื่องเอกลักษณ์ตรีโกณมิติและสมบัติอื่น ๆ 20 – 23
  • แบบฝึกหัดเรื่องเอกลักษณ์ตรีโกณมิติและสมบัติอื่น ๆ 24 – 27
  • ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
  • แบบฝึกหัดเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 28 – 31
  • แบบฝึกหัดเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 32 – 34
  • การพิจารณามุมที่เท่ากัน
  • แบบฝึกหัดเรื่องการพิจารณามุมที่เท่ากัน 35 – 36
  • สมการตรีโกณมิติ
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการตรีโกณมิติ 37 – 40
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการตรีโกณมิติ 41 – 43
  • กฎของไซน์และโคไซน์
  • แบบฝึกหัดเรื่องกฎของไซน์และโคไซน์ 44 – 46
  • แบบฝึกหัดเรื่องกฎของไซน์และโคไซน์ 47 – 49
  • การประยุกต์ใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
  • แบบฝึกหัดเรื่องการประยุกต์ใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 50 – 53
  • แบบฝึกหัดเรื่องการประยุกต์ใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 54 – 57
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติ 58 – 61
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติ 62 – 64
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติ 65 – 67
  • เมทริกซ์และชนิดของเมทริกซ์
  • การเท่ากันของเมทริกซ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเท่ากันของเมทริกซ์ 1 – 5
  • การคูณเมทริกซ์ด้วยค่าคงที่ และการบวกหรือลบเมทริกซ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการคูณเมทริกซ์ด้วยค่าคงที่ และการบวกหรือลบเมทริกซ์ 6 – 8
  • การคูณเมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน
  • แบบฝึกหัดเรื่องการคูณเมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน 9 – 11
  • แบบฝึกหัดเรื่องการคูณเมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน 12 – 14
  • ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 15 – 18
  • แบบฝึกหัดเรื่องดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ 18 – 22
  • เมทริกซ์ผกผัน
  • แบบฝึกหัดเรื่องเมทริกซ์ผกผัน 23 – 27
  • การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 28 – 30
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 31 – 33
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องเมทริกซ์ 34 – 37
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องเมทริกซ์ 45 – 40
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องเมทริกซ์ 41 – 43
  • นิยามของเวกเตอร์
  • การบวก การลบเวกเตอร์ และการคูณเวกเตอร์ด้วยค่าคงที่
  • แบบฝึกหัดเรื่องการบวก การลบเวกเตอร์ และการคูณเวกเตอร์ด้วยค่าคงที่ 1 – 4
  • แบบฝึกหัดเรื่องการบวก การลบเวกเตอร์ และการคูณเวกเตอร์ด้วยค่าคงที่ 5 – 8
  • เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก
  • แบบฝึกหัดเรื่องเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก 9 – 12
  • แบบฝึกหัดเรื่องเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก 13 – 16
  • ผลคูณเชิงสเกลาร์
  • แบบฝึกหัดเรื่องผลคูณเชิงสเกลาร์ 17 – 20
  • แบบฝึกหัดเรื่องผลคูณเชิงสเกลาร์ 21 – 24
  • ผลคูณเชิงเวกเตอร์
  • แบบฝึกหัดเรื่องผลคูณเชิงเวกเตอร์ 25 – 28
  • แบบฝึกหัดเรื่องผลคูณเชิงเวกเตอร์ 29 – 32
  • การหาพื้นที่และปริมาตรโดยใช้เวกเตอร์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาพื้นที่และปริมาตรโดยใช้เวกเตอร์ 33 – 37
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 38 – 41
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 42 – 44
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 45 – 47
  • บทนำเรื่องจำนวนเชิงซ้อน
  • นิยามของจำนวนเชิงซ้อน
  • หน่วยจินตภาพ และตัวอย่างแบบฝึกหัด 1 – 2
  • สมบัติเชิงพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติเชิงพีชคณิตของจำนวนเชิงซ้อน 3 – 6
  • สังยุค และการหารจำนวนเชิงซ้อน
  • แบบฝึกหัดเรื่องสังยุค และการหารจำนวนเชิงซ้อน 7 – 10
  • การแก้สมการกำลังสอง
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแก้สมการกำลังสอง 11 – 15
  • ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน 16 – 18
  • รูปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน
  • แบบฝึกหัดเรื่องรูปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน 19 – 23
  • สมบัติของรูปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของรูปเชิงขั้วของจำนวนเชิงซ้อน 24 – 26
  • รากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
  • แบบฝึกหัดเรื่องรากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน 27 – 29
  • สมการพหุนามกำลังสูง
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมการพหุนามกำลังสูง 30 – 33
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 34 – 37
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 38 – 41
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 42 – 44
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 45 – 47
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 48 – 50
  • บทนำเรื่องหลักการนับเบื้องต้น
  • หลักการบวก
  • แบบฝึกหัดเรื่องหลักการบวก 1 – 6
  • หลักการคูณ
  • แบบฝึกหัดเรื่องหลักการคูณ 7 – 9
  • การใช้หลักการบวกและหลักการคูณในการแก้ปัญหา
  • แบบฝึกหัดเรื่องการใช้หลักการบวกและหลักการคูณในการแก้ปัญหา 10 – 11
  • การเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด 12 – 13
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด 14 – 15
  • การเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด 16 – 18
  • การเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดเชิงวงกลม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดเชิงวงกลม 19 – 20
  • การจัดหมู่
  • แบบฝึกหัดเรื่องการจัดหมู่ 21 – 25
  • สรุปเนื้อหาเรื่องหลักการนับเบื้องต้น
  • ทฤษฎีบททวินาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องทฤษฎีบททวินาม 26 – 28
  • แบบฝึกหัดเรื่องหลักการนับเบื้องต้น 29 – 31
  • แบบฝึกหัดเรื่องหลักการนับเบื้องต้น 32 – 34
  • แบบฝึกหัดเรื่องหลักการนับเบื้องต้น 35 – 37
  • บทนำเรื่องความน่าจะเป็น และการทดลองสุ่ม
  • ความน่าจะเป็น
  • แบบฝึกหัดเรื่องความน่าจะเป็น 1 – 4
  • แบบฝึกหัดเรื่องความน่าจะเป็น 5 – 8
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องความน่าจะเป็น 9 – 12
  • แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องความน่าจะเป็น 13 – 16
  • นิยามของลำดับ
  • การเขียนลำดับ
  • ความหมายลำดับจำกัด และลำดับอนันต์
  • ลำดับเลขคณิต
  • แบบฝึกหัดเรื่องลำดับเลขคณิต 1 – 3
  • ลำดับเรขาคณิต
  • แบบฝึกหัดเรื่องลำดับเรขาคณิต 4 – 5
  • แบบฝึกหัดเรื่องลำดับเรขาคณิต 6 – 7
  • ลำดับเวียนเกิด
  • แบบฝึกหัดเรื่องลำดับเวียนเกิด 8 – 9
  • ลิมิตของลำดับ
  • การหาค่าลิมิตของลำดับ
  • สมบัติของลิมิต
  • ลิมิตของลำดับเลขคณิต, เรขาคณิต และพหุนามดีกรีหนึ่งขึ้นไป
  • ลิมิตของลำดับที่อยู่ในรูปเศษส่วนของพหุนาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องลิมิตของลำดับที่อยู่ในรูปเศษส่วนของพหุนาม 10 – 12
  • ลิมิตของลำดับที่อยู่ในรูปเศษส่วนของเอกซ์โพเนนเชียล
  • แบบฝึกหัดเรื่องลิมิตของลำดับที่อยู่ในรูปเศษส่วนของเอกซ์โพเนนเชียล 13 – 15
  • ลิมิตของลำดับที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนดอนันต์ส่วนอนันต์
  • แบบฝึกหัดเรื่องลิมิตของลำดับที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนดอนันต์ส่วนอนันต์ 16 – 17
  • ลิมิตของลำดับเวียนเกิด
  • แบบฝึกหัดเรื่องลิมิตของลำดับเวียนเกิด 18 – 19
  • บทนำเรื่องอนุกรม
  • ความหมายของอนุกรม
  • เครื่องหมายซิกมา
  • สมบัติของซิกมา
  • ผลบวกที่ควรรู้
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของซิกมา 20 – 21
  • ชนิดของอนุกรม และการคำนวณค่าอนุกรม
  • อนุกรมเลขคณิต
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุกรมเลขคณิต 22 – 23
  • อนุกรมเรขาคณิต
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุกรมเรขาคณิต 24 – 26
  • การหาอนุกรมเมื่อรู้พจน์ทั่วไปของลำดับ
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาอนุกรมเมื่อรู้พจน์ทั่วไปของลำดับ 27 – 29
  • การหาลำดับเมื่อรู้พจน์ทั่วไปของอนุกรม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาลำดับเมื่อรู้พจน์ทั่วไปของอนุกรม 30 – 32
  • อนุกรม Telescopic
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุกรม Telescopic 33 – 35
  • ดอกเบี้ยทบต้น
  • มูลค่าอนาคต
  • แบบฝึกหัดเรื่องดอกเบี้ยทบต้นและมูลค่าอนาคต 36 – 40
  • ค่างวดกรณีได้รับดอกเบี้ย
  • ค่างวดกรณีเสียดอกเบี้ย
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่างวด 41 – 44
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 45 (สามัญ 58) – 46 (สามัญ 56)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 47 (PAT1 มี.ค. 58) – 48 (PAT1 เม.ย. 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 49 (PAT1 มี.ค. 56) – 50 (PAT1 มี.ค. 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 51 (สามัญ 58) – 52 (สามัญ 57)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 53 (PAT1 มี.ค. 59)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 54 (PAT1 เม.ย. 57) – 55 (PAT1 ต.ค. 55)
  • บทนำเรื่องความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
  • ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
  • การหาค่าลิมิตของฟังก์ชัน
  • การหาค่าลิมิตของฟังก์ชันจากกราฟ
  • ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต
  • การหาค่าลิมิตโดยการแทนค่า
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาค่าลิมิตโดยการแทนค่า 1 – 2
  • การหาค่าลิมิตที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนด
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาค่าลิมิตที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนด 3 – 5
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาค่าลิมิตที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนด 6 – 7
  • การหาค่าลิมิตเมื่อฟังก์ชันมีการแบ่งกรณี
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาค่าลิมิตเมื่อฟังก์ชันมีการแบ่งกรณี 8 – 10
  • การหาค่าลิมิตของฟังก์ชันที่มีค่าสัมบูรณ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันที่มีค่าสัมบูรณ์ 11 – 12
  • การพิจารณาความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
  • แบบฝึกหัดเรื่องการพิจารณาความต่อเนื่องของฟังก์ชัน 13 – 16
  • สมบัติของฟังก์ชันต่อเนื่อง และฟังก์ชันที่ต่อเนื่องในช่วง ๆ หนึ่ง
  • การหาลิมิตของฟังก์ชันประกอบ
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาลิมิตของฟังก์ชันประกอบ 17 – 19
  • บทนำเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
  • อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย
  • อัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันที่จุดใดจุดหนึ่ง
  • แบบฝึกหัดเรื่องอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันที่จุดใดจุดหนึ่ง 20 – 22
  • อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 23 – 28
  • สมบัติของอนุพันธ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของอนุพันธ์ 29 – 33
  • อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ 34 – 36
  • ตัวอย่างเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ 37 – 38
  • อนุพันธ์อันดับสูง
  • แบบฝึกหัดเรื่องอนุพันธ์อันดับสูง 39 – 41
  • ความชันของเส้นโค้ง
  • แบบฝึกหัดเรื่องความชันของเส้นโค้ง 42 – 45
  • การเคลื่อนที่แนวตรง
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง 46 – 50
  • ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดของฟังก์ชัน 51 – 54
  • ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดสัมบูรณ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ 55 – 58
  • โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุด
  • แบบฝึกหัดเรื่องโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับค่าสูงสุดหรือค่าต่ำสุด 59 – 60
  • กฎของโลปิตาล
  • แบบฝึกหัดเรื่องกฎของโลปิตาล 61 – 66
  • บทนำเรื่องปฏิยานุพันธ์
  • นิยามของปฏิยานุพันธ์
  • การหาปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 67 – 72
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาปริพันธ์ไม่จำกัดเขต 73 – 77
  • การหาปริพันธ์จำกัดเขต
  • แบบฝึกหัดเรื่องการหาปริพันธ์จำกัดเขต 78 – 81
  • พื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
  • แบบฝึกหัดเรื่องพื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 82 – 86
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 87 (PAT1 ต.ค. 53) – 88 (PAT1 ก.ค. 53)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 89 (PAT1 มี.ค. 55), 90 (PAT1 มี.ค. 54), 91 (PAT1 มี.ค. 58)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 92 (PAT1 ก.ค. 53), 93 (PAT1 พ.ย. 57), 94 (PAT1 ต.ค. 58)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 95 (PAT1 มี.ค. 59), 96 (PAT1 พ.ย. 57), 97 (PAT1 มี.ค. 52)
  • ชนิดของข้อมูล
  • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
  • ค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติ
  • วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
  • แขนงของสถิติ
  • ตารางแจกแจงความถี่ 1
  • ตารางแจกแจงความถี่ 2
  • แบบฝึกหัดเรื่องตารางแจกแจงความถี่ 1 – 2
  • ฮิสโทแกรม
  • แผนภาพต้นใบ
  • บทนำเรื่องค่ากลางของข้อมูล
  • ค่าเฉลี่ย
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าเฉลี่ย 3 – 5
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าเฉลี่ย 6 (PAT1 53), 7 (PAT1 55), 8 (PAT1 55)
  • ค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก 9
  • ค่ามัธยฐาน
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่ามัธยฐาน 10 (PAT1 53)
  • ค่าฐานนิยม
  • แบบฝึกหัดเรื่องฐานนิยม 11 (PAT1 56)
  • สมบัติของค่ากลางของข้อมูล
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของค่ากลางของข้อมูล 12
  • บทนำเรื่องการวัดตำแหน่งข้อมูล
  • ควอร์ไทล์
  • เดไซล์
  • เปอร์เซ็นไทล์
  • แบบฝึกหัดเรื่องการวัดตำแหน่งของข้อมูล 13
  • การวัดการกระจายสัมบูรณ์ และพิสัย
  • พิสัยระหว่างควอร์ไทล์
  • ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
  • ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
  • ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรูปแบบที่สอง
  • แบบฝึกหัดเรื่องส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14
  • แบบฝึกหัดเรื่องส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 15 – 16
  • ความแปรปรวน
  • สมบัติของการวัดการกระจายสัมบูรณ์
  • แบบฝึกหัดเรื่องสมบัติของการวัดการกระจายสัมบูรณ์ 17 – 18
  • การวัดการกระจายสัมพัทธ์
  • แผนภาพกล่อง
  • โจทย์ท้ายบท 19 (สามัญ 56)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 20 (สามัญ 57) – 21 (สามัญ 55)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 22 (สามัญ2 59), 23 (สามัญ1 61)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 24 (PAT1 ต.ค. 52) – 25 (PAT1 มี.ค. 58)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 26 (สามัญ 58), 27 (สามัญ2 62)
  • แบบฝึกหัดท้ายบท 28 (PAT1 มี.ค. 52) – 29 (PAT1 ก.ค. 53)
  • บทนำเรื่องตัวแปรสุ่ม
  • นิยามของตัวแปรสุ่ม
  • ชนิดของตัวแปรสุ่ม
  • การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
  • ค่าคาดหมายและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่ม
  • แบบฝึกหัดเรื่องค่าคาดหมายและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่ม 1 – 2
  • การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง 3 – 5
  • การแจกแจงทวินาม
  • ตัวอย่างเรื่องการแจกแจงทวินาม
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแจกแจงทวินาม 6 – 8
  • บทนำเรื่องการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง
  • การแจกแจงปกติ
  • การแจกแจงปกติมาตรฐาน
  • ตัวอย่างเรื่องการแจกแจงปกติมาตรฐาน
  • การเปรียบเทียบตำแหน่งของข้อมูลโดยใช้ค่าของตัวแปรสุ่มปกติมาตรฐาน
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแจกแจงปกติมาตรฐาน 9 – 12
  • แบบฝึกหัดเรื่องการเปรียบเทียบตำแหน่งของข้อมูลโดยใช้ค่าของตัวแปรสุ่มปกติมาตรฐาน 13 – 15
  • แบบฝึกหัดเรื่องตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม 16 – 18
  • แบบฝึกหัดเรื่องตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม 19 – 20
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง 21 – 23
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง 24 – 25
  • แบบฝึกหัดเรื่องการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง 26 – 27
  • วิธีการวิเคราะห์โจทย์
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เซต 1 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เซต 5 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เซต 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เซต 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรรกศาสตร์ 1 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรรกศาสตร์ 5 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรรกศาสตร์ 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรรกศาสตร์ 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนจริง 1 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนจริง 5 – 7
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนจริง 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 4 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 7 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม 1 – 2
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม 3 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม 5 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย 1 – 2
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย 3 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย 5 – 7
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย 8 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรีโกณมิติ 1 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรีโกณมิติ 5 – 7
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตรีโกณมิติ 8 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เมทริกซ์ 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เมทริกซ์ 4 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เมทริกซ์ 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เมทริกซ์ 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เวกเตอร์ 1 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เวกเตอร์ 5 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง เวกเตอร์ 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน 1 – 2
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน 3 – 4
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน 5 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น 4 – 5
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น 6 – 7
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น 8 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ความน่าจะเป็น 1 – 5
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ความน่าจะเป็น 6 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ลำดับและอนุกรม 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ลำดับและอนุกรม 4 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ลำดับและอนุกรม 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ลำดับและอนุกรม 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น 4 – 7
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น 8 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง สถิติ 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง สถิติ 4 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง สถิติ 7 – 8
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง สถิติ 9 – 10
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น 1 – 3
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น 4 – 6
  • ข้อสอบย้อนหลัง เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น 7 – 10
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ ปี 64 1 – 5
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ ปี 64 6 – 10
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ ปี 64 11 – 15
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ ปี 64 16 – 20
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ ปี 64 21 – 25
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์วิชาสามัญ ปี 64 26 – 30
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 1 – 5
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 6 – 10
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 11 – 15
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 16 – 20
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 21 – 25
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 26 – 30
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 31 – 35
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 36 – 40
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 64 41 – 45
  • ข้อสอบวิชาสามัญคณิตศาสตร์1 ปี 65 ข้อ 1 – 5
  • ข้อสอบวิชาสามัญคณิตศาสตร์1 ปี 65 ข้อ 6 – 10
  • ข้อสอบวิชาสามัญคณิตศาสตร์1 ปี 65 ข้อ 11 – 15
  • ข้อสอบวิชาสามัญคณิตศาสตร์1 ปี 65 ข้อ 16 – 20
  • ข้อสอบวิชาสามัญคณิตศาสตร์1 ปี 65 ข้อ 21 – 25
  • ข้อสอบวิชาสามัญคณิตศาสตร์1 ปี 65 ข้อ 26 – 30
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 1 – 5
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 6 – 10
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 11 – 15
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 16 – 20
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 21 – 25
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 26 – 30
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 31 – 35
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 36 – 40
  • ข้อสอบคณิตศาสตร์ PAT1 ปี 65 41 – 45
  • วิเคราะห์ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 1 – 5
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 6 – 10
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 11 – 15
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 16 – 20
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 21 – 25
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 เติมคำ 1 – 5
  • Download E-Book
  • เจาะข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ ปี 67
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 1 – 4
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 5 – 9
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 10 – 14
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 15 – 20
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 66 ปรนัย 21 – 25
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 67 เติมคำ 1 – 3
  • ข้อสอบ A – Level คณิตศาสตร์ 1 ปี 67 เติมคำ 4 – 5

📝สิ่งที่จะได้รับ📚

☑️ คอร์สเรียนออนไลน์ สำหรับสอบคณิต A-Level สอนโดย พี่นอต
☑️ ติวเข้มเนื้อหาแบบละเอียด ครบทุกหัวข้อตรงตาม Blueprint
☑️ แบบฝึกหัดและโจทย์ข้อสอบ ฝึกให้น้องรับมือกับข้อสอบจริงได้
☑️ แนะนำจุด Focus หรือจุดที่อาจผิดบ่อย ที่นักเรียนต้องระวัง
☑️ สอนแนวคิด เทคนิควิเคราะห์โจทย์และหาคำตอบอย่างถูกต้องแม่นยำ
☑️ Update ข้อสอบเก่าจนถึงปีล่าสุด พร้อมเฉลยละเอียด
☑️ หนังสือประกอบการเรียน ส่งฟรีถึงบ้าน หรือเลือกรับเป็นไฟล์สำหรับ Tablet ก็ได้
☑️ สุดคุ้มค่า เรียนไม่จำกัดชั่วโมงตลอด 1 ปี ทบทวนได้ยาวยันสอบ
☑️ บริการโค้ชผู้ช่วยส่วนตัว ถาม-ตอบทันใจใน 24 ชั่วโมง ช่วยให้เข้าใจบทเรียนง่ายขึ้น

 

🥇พี่นอต

ดร.ธรรมนิติ์ พิพัฒศรีสวัสดิ์

🏆Success รุ่นพี่เรียนแล้วสอบติด🎉

📅เรียนคอร์สนี้ วางแผนติวยังไงดี?⏰

คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เน้นการคำนวณเป็นหลัก แต่การที่จะสามารถทำโจทย์คำนวณได้ ต้องทำความเข้าใจในเนื้อหาให้ดีก่อน เพราะถ้าหากจำไปเฉพาะสูตรอย่างเดียว เมื่อโจทย์ที่มีการประยุกต์อาจจะพลาดได้ การฝึกทำโจทย์จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้นนั่นเองครับ การแบ่งเวลาอ่านหนังสือในแต่ละวัน จึงขึ้นอยู่กับว่าน้องเหลือเวลาอ่านอีกกี่วัน พี่แนะนำให้วางแผนดังนี้ครับ

เริ่มเรียนช่วงเดือน มีนาคม – พฤษภาคม (ปิดเทอมใหญ่)
ควรเรียนวันละ : 30 นาที – 1 ชั่วโมง
เนื้อหาที่ควรเก็บ : ทุกบท
💡น้องที่เริ่มเตรียมตั้งแต่ช่วงนี้พี่ขอแสดงความยินดีด้วยครับ น้องเริ่มเตรียมตัวในเวลาที่ดีและเร็ว น้องจะมีเวลาค่อยๆเรียน และทำความเข้าใจในทุกเนื้อหาได้อย่างเต็มที่

เริ่มเรียนช่วงเดือน มิถุนายน – กันยายน (เทอม 1)
ควรเรียนวันละ : 1 ชั่วโมง
เนื้อหาที่ควรเก็บ : ทุกบท
💡เริ่มเตรียมตั้งแต่ช่วงนี้ก็ยังเป็นช่วงที่ดีครับ ยังพอมีเวลาในการเก็บให้ครบทุกบทอยู่ ขอเพียงขยันเรียน อย่าดอง อย่าเท น้องจะเก่งขึ้นเรื่อยๆโดยไม่รู้ตัวครับ

เริ่มเรียนช่วงเดือน ตุลาคม – พฤศจิกายน (ปิดเทอมเล็ก)
ควรเรียนวันละ : 1 – 2 ชั่วโมง
เนื้อหาที่ควรเก็บ : ยังพอเก็บได้ทุกบท แต่ถ้าเวลาน้อยให้ Focus เนื้อหา 4 กลุ่มที่ถนัด
💡น้องที่เริ่มเตรียมตั้งแต่ช่วงนี้หากให้เวลาเรียนเยอะก็ยังพอทันเก็บได้ทุกบท แต่ถ้าหากมีเวลาเรียนต่อวันน้อยแนะนำเลือกเก็บบทที่ถนัดเป็นหลักแล้วค่อยแก้ไขเพิ่มเติม เนื้อหาที่ไม่ถนัดหรือมักทำผิดครับ

เริ่มเรียนช่วงเดือน ธันวาคม – กุมภาพันธ์ (หลังสอบ TGAT-TPAT)
ควรเรียนวันละ : 2 – 4 ชั่วโมง
เนื้อหาที่ควรเก็บ : Focus เนื้อหา 4 กลุ่มที่ถนัด
💡ช่วงนี้เป็นช่วงไฟลนก้นแล้ว น้องต้องเก็บให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ แนะนำเลือกเก็บเฉพาะบทถนัดก่อน ที่สำคัญคือต้องพยายามฝึกโจทย์ให้ได้เยอะๆด้วยนะครับ

📅คณิตศาสตร์ A-Level ควรเก็บบทไหน?⏰

สำหรับ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 พี่แนะนำว่าควรเก็บให้ครบทุกบท เพราะเนื้อหาจากบางบทเรียนก็เป็นพื้นฐานให้แก่บทเรียนอื่น แต่ถ้าหากเวลาเหลือน้อย การจะเก็บให้ครบทุกบททุกเนื้อหาคงเป็นไปได้ยาก ในช่วงโค้งสุดท้าย พี่ขอแนะนำบทที่น่าเก็บดังนี้ครับ

🔥บทที่ออกสอบบ่อย ควรเน้นที่สุด คือ : 
ลำดับและอนุกรม
แคลคูลัสเบื้องต้น

💡บทที่ออกข้อสอบบ้าง ควรเน้นบ้าง คือ : 
เซต
ตรรกศาสตร์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เวกเตอร์
จำนวนเชิงซ้อน
หลักการนับเบื้องต้น
สถิติ
ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็น

🌷บทที่ออกข้อสอบไม่เยอะ ควรเน้นไม่มาก คือ :
ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์
จำนวนจริง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เมทริกซ์
ความน่าจะเป็น

แต่ถ้าน้องคนไหนเริ่มเรียนเร็ว มีเวลาเหลือตามที่พี่แนะนำไว้ ขอให้เรียนให้ครบทุกบทนะครับ เพราะยิ่งเราเก็บได้เยอะยิ่งมีโอกาสได้คะแนนสูง และยิ่งมีโอกาสติดคณะในฝันมากขึ้น ขอให้พยายามให้เต็มที่จะได้ไม่เสียใจในภายหลังนะครับ

ตัวอย่างคอร์สเรียน

คณิตศาสตร์ A-Level

11 Videos

📝สมัครเลย!!📚

คณิตศาสตร์ A-Level

พี่นอต ธรรมนิติ์ พิพัฒน์ศรีสวัสดิ์

คอร์สเรียนออนไลน์ติวสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 สอนโดย พี่นอต อดีตนักเรียนทุนคิง ครอบคลุมเนื้อหาทุกประเด็นตาม Blueprint แนวโจทย์หลากหลาย พร้อมแนะเทคนิคเพิ่มคะแนน ให้น้องสามารถสอบ A-Level คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ได้อย่างมั่นใจ

ราคา 3,990 บาท