จากบทความที่ผ่านมาเรื่อง “Update ล่าสุดจาก ทปอ. เกี่ยวกับ TCAS66” น้อง ๆ ทุกคนคงเห็นแล้วว่ารูปแบบการสอบ TCAS66 จะมีกำหนดการ และการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด จนมาถึงวันที่ 28 เมษายน 2565 ก็ได้มีความเคลื่อนไหวจากทางที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) อีกครั้ง ผ่านทางเว็บไซต์ Mytcas.com ซึ่งเป็นการ Update เกี่ยวกับ Exam Blueprint ของข้อสอบ TGAT TPAT และ A-Level ซึ่งพี่ Panya Society จะมาสรุป วิเคราะห์ และเปรียบเทียบกับปีก่อน ๆ ให้น้อง ๆ ฟังกันครับ จะเป็นยังไงลองมาดูกันเลย…

สวัสดีครับน้องๆ #Dek66 ทุกคน วันนี้พี่ Panya Society กลับมาอีกครั้งพร้อมบทความที่เกี่ยวกับ TCAS66 อีกแล้วนะครับ โดยวันนี้เราจะว่ากันด้วยเรื่องของข้อสอบฟิสิกส์ A-Level กันนะครับ หลังจากบทความที่ผ่านมา เราได้ดูหน้าตาของโครงสร้างข้อสอบ (Exam Blueprint) กันไปแล้ว มาคราวนี้พี่ Panya Society ขอบอกเลยว่าวันนี้เราจะมาเจาะลึกลงไปกว่าเดิมว่า ข้อสอบปีนี้จะมีหน้าตาเป็นอย่างไร จะยากขึ้นหรือง่ายขึ้นกว่าปีที่ผ่านๆ มา รวมไปถึงเทคนิคการเตรียมตัวทำข้อสอบฟิสิกส์ A-Level กันครับ ถ้าพร้อมแล้ว เริ่ม!!!

พี่แชร์ ฟิสิกส์ ตั้งข้อสังเกตข้อสอบแนวใหม่จาก สสวท. พบประเด็นสำคัญ 10 อย่างของข้อสอบ TCAS65 วิชาฟิสิกส์ แนวใหม่ ที่ DEK65 ไม่รู้ ไม่ได้จริง ๆ

 ยินดีต้อนรับน้อง ๆ ทุกคนเข้าสู่บทความสรุปเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ มัธยมปลาย จากพี่แชร์ แห่ง Panya Society นะครับ วันนี้พี่แชร์จะขอเสนอเนื้อหาของวิชาฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 โดยเป็นเทอมแรกที่น้อง ๆ ทุกคนที่เรียนฟิสิกส์ มัธยมปลายจะได้เรียนกันนะครับ หลังจากผ่านวิชาวิทยาศาสตร์ในชั้นมัธยมต้นกันมาแล้ว เนื้อหาของฟิสิกส์ มัธยมปลายนั้นจะมีเนื้อหาที่เข้มข้น และซับซ้อนขึ้นมาอีกระดับ และเนื้อหาของวิชาฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 นั้นถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการต่อยอดไปยังเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมปลายไปอีก 3 ปี หลังจากนี้รวมไปถึงในระดับมหาวิทยาลัยบางคณะอีกด้วย เพราะฉะนั้นแล้วพี่แชร์ จึงอยากให้น้อง ๆ ทุกคนตั้งใจและเก็บรายละเอียดให้ดีเพื่อเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเรียนระดับชั้นมัธยมปลายนะครับ

เดินทางมาสู่บทที่ 1 ของฟิสิกส์ ม. 4 เทอม 1 “ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์” ซึ่งนับว่าเป็นบทสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเรียนบทต่อ ๆ ไป ในวิชาฟิสิกส์ ม. ปลาย และในสถิติข้อสอบ TCAS สัดส่วนการออกข้อสอบบทนี้ในปีที่ผ่าน ๆ มา ของข้อสอบ 9 วิชาสามัญ พบความถี่ในการออกข้อสอบโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ข้อในทุกปี

เดินทางมาสู่บทที่ 2 ของฟิสิกส์ ม. 4 เทอม 1 “การเคลื่อนที่แนวตรง” ซึ่งนับว่าเป็นบทสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเรียนบทต่อ ๆ ไป ในวิชาฟิสิกส์ ม. ปลาย และในสถิติข้อสอบ TCAS สัดส่วนการออกข้อสอบบทนี้ในปีที่ผ่าน ๆ มา ของข้อสอบ 9 วิชาสามัญ พบความถี่ในการออกข้อสอบโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ข้อในทุกปี

เดินทางมาสู่บทที่ 3 ของฟิสิกส์ ม. 4 เทอม 1 “แรงและกฎการเคลื่อนที่” ซึ่งนับว่าเป็นบทสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเรียนบทต่อ ๆ ไป ในวิชาฟิสิกส์ ม. ปลาย และในสถิติข้อสอบ TCAS สัดส่วนการออกข้อสอบบทนี้ในปีที่ผ่าน ๆ มา ของข้อสอบ 9 วิชาสามัญ พบความถี่ในการออกข้อสอบโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ข้อในทุกปี

ฟิสิกส์ (Physics) เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ (Science) โดยวิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยใช้เหตุและผลประกอบการศึกษา โดยไม่ใช้ความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าหรือภูติผีปีศาจ

การวัดจะสามารถทำได้โดยใช้เครื่องมือวัดต่างๆ แต่การอ่านค่าที่ได้จากเครื่องมือจะมีหลักในการดู ดังนี้

หลักในการนับจำนวนเลขนัยสำคัญ
1. ตัวเลข 1-9 นับเป็นนัยสำคัญหมด
2. เลข 0 หน้าเลขอื่นไม่นับ…

ผลต่างระหว่างค่าที่วัดได้กับค่าที่แท้จริง ซึ่งโดยปกติค่าที่แท้จริงสามารถวัดได้ยาก จึงหาค่าที่ใกล้เคียงค่าที่แท้จริง

การกระทำที่ผลักหรือดึงวัตถุ ซึ่งมีผลให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ ถ้าแรงลัพธ์ที่มากระทำไม่เป็นศูนย์ โดยแรงเป็นปริมาณเวกเตอร์

1. วัตถุจะคงสภาพหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่เป็นเส้นตรง เว้นแต่ถูกกระทำด้วยแรงทำให้เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่

เกิดจากการมีมวลทำให้เกิดแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน ซึ่งแรงทั้งสองจะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศตรงกันข้าม

ถ้าเรามีวัตถุวางอยู่เฉยๆ บนพื้น จะมีแรงโน้มถ่วงของโลกมากระทำต่อวัตถุนั้น จากกฎข้อ 1 ของนิวตัน ต้องมีแรงที่มาต้านแรงโน้มถ่วงเพื่อทำให้วัตถุอยู่นิ่งได้ เราเรียกแรงนั้นว่า แรงในแนวตั้งฉาก

ถ้าเรามีวัตถุที่ห้อยอยู่บนเพดานด้วยเชือกเบาจะมีแรงโน้มถ่วงมากระทำต่อวัตถุนั้น ในกรณีนี้ แรงที่มาต้านแรงโน้มถ่วง คือ แรงตึงเชือก

แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยเกิดขึ้นบนผิวสัมผัสระหว่างวัตถุ

การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นแนวโค้ง 2 มิติ ซึ่งแปลว่ามีความเร็วทั้งใน แกน x และ แกน y ตลอดการเคลื่อนที่ ยกเว้นที่จุดสูงสุดจะมี ความเร็วในแนวแกน x เท่านั้น

งานในทางฟิสิกส์จะเกิดขึ้นได้ต้องมีแรงมากระทำกับวัตถุให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกับแรงที่กระทำเท่านั้น

การที่เราดึงสปริงออกจากตำแหน่งสมดุลตอนแรก เป็นการทำให้เกิดพลังงานศักย์ที่เราเรียกว่า พลังงานศักย์ยืดหยุ่น

เป็นปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งปริมาณนี้จะบอกถึงความพยายามที่วัตถุจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า

ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทำต่อระบบแล้ว โมเมนตัมของระบบจะคงที่

การกลิ้งโดยไม่ไถลจะเป็นการเคลื่อนที่โดยกลิ้งแล้วผิวสัมผัสของวัตถุไม่ได้ครูดไปกับพื้นเลย

สมดุลกล คือ สภาพที่ระบบไม่เปลี่ยนแปลงสภาพเคลื่อนที่

เมื่อแรง F มีค่ามากขึ้นจนแรง FN ไปอยู่ตรงขอบของวัตถุ แสดงว่าวัตถุจะเริ่มล้ม แต่ถ้าแรง F เท่ากับแรงเสียดทานสถิตมากสุด ก่อนที่ FN จะเลื่อนมาถึงขอบ วัตถุจะเริ่มไถล

จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานจะไม่หายไปไหนแต่สามารถเปลี่ยนพลังงานรูปอื่นแทน

เป็นสมบัติของวัตถุที่เมื่อวัตถุโดนแรงมากระทำจะทำให้วัตถุยืดหรือหด

เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง ถ้าหน้าคลื่นมีขนาดยาวกว่าสิ่งกีดขวาง คลื่นจะสะท้อนกลับบางส่วน และส่วนที่ผ่านสิ่งกีดขวางไปได้จะกระจายออกไปอยู่ด้านหลังของสิ่งกีดขวาง เป็นเหมือนการเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวาง

เสียงเป็นคลื่นตามยาว และเนื่องจากเสียงต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่จึงเป็นคลื่นกล

ความดังของเสียงขึ้นอยู่กับสองอย่าง
1. แอมพลิจูดของคลื่นเสียง
2. ความห่างจากแหล่งกำเนิดเสียง

แรงที่ประจุทำกัน (ทั้งกรณีผลักและดูด) จะแปรผันตรงกับผลคูณของประจุทั้งสอง และแปรผกผันกับความห่างของสองประจุนั้นยกกำลังสอง

เพราะไฟฟ้าสถิต ในช่วงฤดูหนาว อากาศจะมีความชื้นต่ำ ก่อให้เกิดการสะสมของประจุไฟฟ้าได้ง่าย และถ่ายเทประจุไฟฟ้าได้มากกว่าอากาศในช่วงฤดูร้อน

เมื่ออยู่ที่อุณหภูมิหนึ่ง กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำจะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวนำนั้น

นิยามของของไหล คือ สิ่งที่สามารถเปลี่ยนรูปร่างไปตามภาชนะที่บรรจุได้ เช่น ของเหลว และแก๊สต่าง ๆ

หากมีความดันจากภายนอกมากระทำกับของไหล ความดันนั้นจะแผ่ไปยังทุก ๆ จุดของของไหลนั้นเท่า ๆ กัน

แก๊ส เป็นสถานะหนึ่งของสสารต่าง ๆ ซึ่งมีรูปร่างไม่แน่นอนเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ

เมื่อสาดอิเล็กตรอนใส่สลิตคู่ แล้วนำฉากมารับ พบว่าอิเล็กตรอนสามารถเกิดการแทรกสอดได้ แสดงว่า อนุภาคสามารถทำตัวเป็นคลื่นได้

คือ เวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีใช้ในการสลายตัวจนเหลือปริมาณครึ่งหนึ่งตอนเริ่มต้น

ในนิวเคลียสประกอบไปด้วย นิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า และโปรตอนซึ่งเป็นประจุบวก และการที่ประจุบวกอยู่ใกล้กันโดยไม่ผลักกัน จะต้องมีแรงมาหักล้างกับแรงผลักนั้น เราเรียกแรงนั้นว่า แรงนิวเคลียร์